วันศุกร์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2559

ศาสนาสิข

ศาสนาสิกข์เป็นหนึ่งในศาสนาที่เกิดขึ้นใหม่ เมื่อเปรียบเทียบกับศาสนาอื่น ๆ ของโลก เป็นศาสนาที่ยึดถือ และเชื่อมั่นใน “เอกเทวนิยม” (Monotheistic) คือเชื่อถือความเป็นเอก (อ่านเพิ่มเติม)

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ศาสนาสิข

ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

 ตรีมูรติ



ศาสนาพราหมณ์หรือฮินดู นับว่าเป็นศาสนาที่เก่าแก่ ไม่อาจนับจำนวน ปีที่ที่แน่นอนได้  เพียงแต่ประมาณเวลาได้เท่านั้น นักการศาสนา นักปรัชญา  นักประวัติศาสตร์ และนักโบราณคดี ได้แบ่งยุคของลัทธิ ศาสนานี้ออก (อ่านเพิ่มเติม)


ศาสนาอิสลาม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ศาสนาอิสลาม




อิสลาม หรือ ศาสนาอิสลาม เป็นศาสนาสำคัญศาสนาหนึ่งของโลก มีคนนับถือประมาณ 1,600 ล้านคน นับว่ามีจำนวนมากที่สุดเป็นอันดับสองในโลก พื้นที่รวมของกลุ่มประเทศมุสลิมทั้งหมดประมาณ 34,722,286 ตารางกิโลเมตร  (อ่านเพิ่มเติม)

ศาสนาคริสต์

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ศาสนาคริสต์




ศาสนาคริสต์กำเนิดขึ้นภายหลังพุทธศาสนา 543 ปี ณ ดินแดนประเทศปาเลสไตล์ปัจจุบัน ซึ่งศาสนาคริสต์นี้จะสืบทอดมาจากศาสนายูดาห์ หรือศาสนายิว โดยศาสนายูดาห์จะเชื่อว่ามีพระเมสิอาห์หรือพระคริสต์มาเกิดเพื่อช่วยเหลือชาวยิวที่ถูกกดขี่ครอบงำอยู่ในขณะนั้น. (อ่านเพิ่มเติม)

พุทธศาสนสุภาษิต

พุทธศาสนสุภาษิต  หมายถึง ถ้อยคำดีๆ ในพระพุทธศาสนา  แต่มิได้หมายความเฉพาะคำที่พระพุทธองค์ตรัสไว้เท่านั้น แม้สุภาษิตแทบทั้งหมดจะเป็นพระพุทธพจน์ก็ตาม (อ่านเพิ่มเติม)

พุทธสุภาษิต - พุทธศาสนสุภาษิต

พระไตรปิฏก

พระไตรปิฏก แปลว่า ๓ คัมภีร์ เมื่อแยกเป็นคำๆ ว่า พระ + ไตร + ปิฏก คำว่า "พระ" เป็นคำแสดงความเคารพหรือยกย่อง คำว่า "ไตร" แปลว่า สาม คำว่า "ปิฏก" แปลได้ ๒ อย่าง คือ แปลว่า คัมภีร์ หรือแปลว่า กระจาด ตะกร้า (อ่านเพิ่มเติม)

พระรัตนตรัย



ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ พระรัตนตรัย


คำว่า รัตนตรัยมาจากคำว่า รัตนแปลว่า แก้วหรือสิ่งประเสริฐ กับคำว่า ตรัยแปลว่า สาม ฉะนั้นพระรัตนตรัย แปลรวมกันว่า แก้วสามดวง หรือสิ่งประเสริฐสามสิ่ง ที่พุทธศาสนิกชนเคารพนับถือสูงสุดสามสิ่งนับเป็นองค์ประกอบของศาสนาพุทธ       (อ่านเพิ่มเติม)

อริยสัจ4

พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่บังเกิดขึ้นเพื่อช่วยเหลือมนุษย์ในโลกนี้  ให้หลุดพ้นจากความทุกข์  เพราะมนุษย์ต้องอยู่เป็นกลุ่มในสังคมที่ทุกคนยอมรับว่าเป็นสังคมที่มีความเจริญรุ่งเรือง  เพียบพร้อมไปด้วยอุปกรณ์อำนวยความสะดวกสบายในการดำรงชีพ   แต่ขณะเดียวกันก็เกิดความไม่สงบขาดความมั่นคงด้าน (อ่านเพิ่มเติม)

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา